ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

ปีที่ประเมิน 2563
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : พรเทพ เจิมขุนทด , อนันศักดิ์ พวงอก , พัณณิตา นันทะกาล , รุ่งทิวา เนื้อนา , นงนุช แสงพฤกษ์ , นิลวรรณ จันทา , ทินกร กมล , ปวริศา แดงงาม , ทิวาพร ใจก้อน
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้

ผลงานทางวิชาการเป็นข้อมูลที่สำคัญในการแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจำและนักวิจัยได้สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานที่มีคุณค่า สมควรส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และนำไปใช้ประโยชน์ทั้งเชิงวิชาการและการแข่งขันของประเทศ ผลงานทางวิชาการ อยู่ในรูปของบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2562 ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการแล้ว ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ ตำราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว โดยมีวิธีการคิด ดังนี้

เกณฑ์การประเมิน

โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยเป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5 เกณฑ์แบ่งกลุ่มตามสาขาวิชาดังนี้
     กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
     ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
     กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
      ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
     กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
     ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดไว้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ

1. คำนวณค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
---------------------------------------------------------------------------------------------------------      x  100
จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยทั้งหมด

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------       x     5
ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5
สรุปคะแนนที่ได้ในระดับคณะ

     คะแนนที่ได้ในระดับคณะ    =    ค่าเฉลี่ยคะแนนที่ได้ของทุกกลุ่มสาขาวิชาในคณะ

กำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
- มีการยื่นจดอนุสิทธิบัตร

0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
- มีการยื่นจดสิทธิบัตร
0.60 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ที่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ.
- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2
- มีการจดแจ้งลิขสิทธิ์
0.80 - ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร
- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
1.00

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ.
- ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
- ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน
- ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการแต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ
- ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร
- ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว ได้แก่
    ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

    ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและการเรียนรู้

    ผลงานวิชาการเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะ

    ผลงานวิชาการรับใช้สังคม

    กรณีศึกษา

    ตำราหรือหนังสือหรืองานแปล

    ซอฟต์แวร์

    พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม และงานวิชาการในลักษณะเดียวกัน

หมายเหตุ
1. การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้นำเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และ เมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้
2. ผลงานทางวิชาการทั้งหมดจะต้องได้รับการเผยแพร่ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

กำหนดระดับคุณภาพผลงานสร้างสรรค์ด้านสุนทรียะ ศิลปะ หรือ ผลงานสร้างสรรค์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนี้
ค่าน้ำหนัก ระดับคุณภาพ
0.20 ผลงานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online
0.40 ผลงานสร้างสรรค์ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน
0.60 ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ
0.80 ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ
1.00 ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ

ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบ ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลพื้นฐาน

น้ำหนัก

กลุ่มสาขาวิชา

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ)

 

48.5

จำนวนอาจารย์ประจำที่ลาศึกษาต่อ

 

2

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มีจำนวน  12  เรื่อง ดังนี้

     1. A Brief Analysis of the Problems Concerning TCFL (Teaching Chinese as a Foreign Language) Phonetic Teaching เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ Yujing Liang

       2. Life of Thai overstayers in Japan from the 1990s to the beginning of the 2000s  เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ Hiroko Kitahara

       3. ความคิดเห็นของนักศึกษาชาวไทยที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นทางอินเตอร์เน็ตกับนักศึกษาชาวญี่ปุ่น เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ Jun Miki

       4. การศึกษาความต้องการใช้คู่มือภาษาจีน สำหรับผู้ประกอบการสวนทุเรียนภูเขาไฟ จังหวัดศรีสะเกษ  เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ วิภาวดี ทวี

       5. แนวทางการพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ ภิรัญญา จันทร์เปล่ง

       6. ทัศนคติของผู้ใช้บริการต่ออุทยานการเรียนรู้ศรีสะเกษ (SSK PARK) เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ จันทกานต์ พันเลียว

       7. การสร้างสื่อท่องจำคำศัพท์คล้องจองภาษาจีน HSK3 เพื่อพัฒนาทักษะการท่องจำคำศัพท์ของนักศึกษาสาขาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ วีระชาติ ดวงมาลา

       8. การสื่อสารเพื่อการพัฒนาด้านสาธารณสุขในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19 ) ในประเทศไทยอย่างยั่งยืน เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ รดาธร ศรีสายหยุด

    9. เทพเจ้าจีนในศาลเจ้าปึงเถากงม่า จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ อัญชัญ เจริญศรีเมือง

    10. การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์น้ำหอมแดงสมุนไพรบ้านเมืองแสนตำบลคอนกาม  อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษเนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ รัตตัญญู ศิลาบุตร

    11. บทบาทของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนในการจัดบริการสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน กรณีศึกษา : ห้องสมุดโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ พัณณิตา นันทะกาล

    12. การเล่าเรื่องในภาพยนตร์สั้นรางวัลของนักศึกษา สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษเนื่องในงาน การประชุมวิชาการระดับชาติ  การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร ประจำปี 2563 หัวข้อ “พลังภาคประชาคมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พลังกลุ่มพลังชุมขนสู่การปรับตัวที่ยั่งยืนในสถานการณ์ new normal” วันที่ 28 สิงหาคม 2563 โดยอาจารย์ อัจฉริยะ ศรีทา

0.20

2.4

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 มีจำนวน - บทความ

1.00

-

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 มีจำนวน 7 บทความดังนี้

       1. หนังบักตื้อ : การใช้รหัสในการสร้างตัวละครเอกของหนังบักตื้อ จากกลุ่มอนุรักษ์ป่าดงภูดิน ดงภูแดง อำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ พัฒนาวารสาร (Baddhana Journal ) ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) โดย ผศ.ดร.กฤษณ์ คำนนท์

       2. การสื่อความหมายผ่านพิธีกรรม รำผีฟ้า วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563) โดย ผศ.อุมาพร ประชาชิต

       3. แนวคิดและความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2460- 2560 วารสาร ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ ปีที่ 46 (ม.ค.-ธ.ค. 64) โดยอาจารย์ทิวาพร ใจก้อน

       4. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์วัฒนธรรมกูยบ้านกู่ ตำบลกู่ อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (2020): มกราคม – เมษายน 2563 โดย ผศ.ธนพล วิยาสิงห์

    5. กิจติพงษ์  ประชาชิต. 2563. การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมหวายที่แสดงถึงอัตลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารพัฒนวารสาร ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563)

    6. กิจติพงษ์  ประชาชิต. 2563. การรับรู้ของนักท่องเที่ยวที่มีต่อสื่อโฆษณาดิจิทัล ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชาวกูยจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563)

    7. ไชยวัฒน์ ศรีแก้ว. (2563). งานประติมากรรมของที่ระลึก HUSO มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563

0.60

4.2

ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว มีจำนวน 2 งาน ดังนี้

1. ตำรา เรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนและแนวทางการพัฒนา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอร แสนภูวา

2. ตำรา เรื่อง ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจออนไลน์ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์อินทิรา ศักดิ์เมียนแก้ว

1.00

2.00

-งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ online  มีจำนวน 6 งาน  ดังนี้

       1. นักข่าวพลเมือง : สะในใจเยอกับผ้าป่าในการพัฒนาเด็ก จ.ศรีสะเกษ l ออกอากาศ 26 ต.ค. 2563 https://www.youtube.com/watch?v=81EVBPNbRAA

       2. นักข่าวพลเมือง : ปุ๋ยใส้เดือนดินสร้างรายได้ จ.ศรีสะเกษ ออกอากาศ 9 ส.ค. 2563 https://www.youtube.com/watch?v=nl8FA7Eetik

       3. นักข่าวพลเมือง : เปิดพื้นที่สร้างสรรค์ ม.ราชภัฏศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ ออกอากาศ 14 พ.ย. 2563

https://www.youtube.com/watch?v=GFz2_srXv9k

       4. นักข่าวพลเมือง : ส่งเสริมวิถีเกษตรกรรมบ้านกันทรอมใต้ จ.ศรีสะเกษ ออกอากาศ 19 ส.ค. 2563

https://www.youtube.com/watch?v=BAW1G-ujFlA

       5. นักข่าวพลเมือง : คืนกบสู่นา คืนปลาสู่น้ำ คืนต้นไม้ให้แผ่นดิน จ.ศรีสะเกษ ออกอากาศ 8 ส.ค. 2563

https://www.youtube.com/watch?v=ZOpAgxekbSg

       6. นักข่าวพลเมือง : งานบุญกฐินวัดศรีบึงบูรพ์ จ.ศรีสะเกษ l 2 พ.ย. 2563

https://www.youtube.com/watch?v=TFca2JyqUXo

0.20

1.2

-งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ มีจำนวน 2 งาน ดังนี้

       1.  สีหนาท ลอบมณี. 2563. รูปโลกีย์. สูจิบัตรการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 66. จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ. ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2564.

       2. ไชยวัฒน์ ศรีแก้ว. 2564. เสื่อมสลาย. สูจิบัตรการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 66. จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ. ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2564.

0.60

1.2

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ

11.00

จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด

48.5

ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ)

22.68

คะแนน

5

สูตรการคำนวณ

     1.  ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

X 100

จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยทั้งหมด          

10.00

    X 100 =

ร้อยละ 22.68

    48.5           

     2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนน   =

22.68

X 5 = 5 คะแนน

20

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
5 5