การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทำให้อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยทำให้อาจารย์มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาที่เปิดให้บริการ และมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับการผลิตบัณฑิต อันสะท้อนจากวุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ และความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
ประเด็นในการพิจารณาตัวบ่งชี้นี้จะประกอบด้วย
- ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
- ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
- ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
- จำนวนบทความของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน ซึ่งมีรายละเอียดคุณวุฒิดังนี้
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
คุณวุฒิ |
1. ผศ.ดร.ธัญวรัตน์ แจ่มใส |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
รป.ด.(นโยบายสาธารณะ) |
2. ผศ. ปรารถนา มะลิไทย |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
รป.ม.(นโยบายสาธารณะ) |
3. ผศ.ปณัยกร บุญกอบ |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
รป.ม.(การบบริหารการเงินการคลัง) |
4. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ปร.ด.(ไทคดีศึกษา) |
5. นายประเสริฐ บัวจันอัฐ |
อาจารย์ |
รป.ม.(การปกครองท้องถิ่น) |
แสดงการคำนวณ
ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
(2 / 5) x 100 = ร้อยละ 40
สรุปผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตร ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 ของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด คะแนนที่ได้เท่ากับ 5 คะแนน
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีอาจารย์ประจำหลักสูตรปัจจุบันทั้งหมด 5 คน และมีอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 4 คน คือ
ชื่อ - สกุล |
ตำแหน่งทางวิชาการ |
ชื่อผลงานทางวิชาการ |
1. ผศ.ดร.ธัญวรัตน์ แจ่มใส |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ตำรา : วิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน |
2. ผศ. รารถนา มะลิไทย |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ตำรา : วิชาองค์การและการจัดการภาครัฐ |
3. ผศ.ปณัยกร บุญกอบ |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ตำรา : วิชาการบริหารงานคลังและงบประมาณ |
4. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
ตำรา: วิชาการวางแผน การวิเคราะห์และการบริหารโครงการ |
แสดงการคำนวณ
ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
(4 / 5) x 100 = ร้อยละ 80
(80/60) x 5 = 5 คะแนน
สรุปผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 ของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด คะแนนที่ได้เท่ากับ 5 คะแนน
4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตรดังนี้
ชื่อ-สกุล |
ชื่อผลงาน/งานสร้างสรรค์ |
ชื่อวารสาร |
ค่าน้ำหนัก |
1. ผศ.ปรารถนา |
บทความวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
วารสารการเมืองการปกครอง.ปีที่ (1) |
0.80 |
2. ผศ.ดร.ประจวบ จันทร์หมื่น |
ตำรที่ผ่านการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่งทางวิชาการ |
ตำรา: วิชาการวางแผน การวิเคราะห์และการบริหารโครงการ |
1 |
|
|
0.20 |
ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ประจำหลักสูตรดังนี้
การคิดคำนวณตามสูตร
1+0.8+0.2
----------------- x100
5
2
-------- x100
5
สรุปผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีผลงานทางวิชาการ จำนวน 3 เรื่อง รวมค่าน้ำหนักทั้งสิ้น 2.0 คิดเป็นร้อยละ 40 ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5 คะแนน
รหัสหลักฐาน | เอกสารหลักฐาน | |
---|---|---|
4.2 - (1) | คุณวุฒิอาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต | |
4.2 - (2) | คุณวุฒิอาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต | |
4.2 - (3) | บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ (TCI 1) | |
4.2 - (4) | ตำราที่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอกำหนดทางแหน่งทางวิชาการ | |
4.2 - (5) | ผลงานทางวิชาการในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ |
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
5 | 5 |