การวิจัยเป็นพันธกิจหนึ่งที่สำคัญของมหาวิทยาลัย การดำเนินการตามพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จนั้น สามารถพิจารณาได้จากผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่มีคุณภาพและมีประโยชน์สู่การนำไปใช้ จากการเปรียบเทียบจำนวนงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมของอาจารย์ประจำที่นำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในโครงการวิจัยและรายงานการวิจัย โดยได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การแปลงค่าคะแนนร้อยละของจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมต่อจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดของคณะ คิดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30
1. คำนวณค่าร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน
ผลรวมของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 100 |
จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมินฯ |
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ | = | ร้อยละของจำนวนชิ้นงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชม |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 5 | ||
งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ของคณะ ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 |
1. นับจำนวนชิ้นงานของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ในปีที่ประเมิน
2. งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน อาจนับคะแนนซ้ำได้ในกรณีต่างชุมชนในปีที่รับการประเมิน กรณีที่มีการนำไปใช้ประโยชน์แต่ละชุมชน ต้องมีหลักฐานการพัฒนาชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม
3. สำหรับงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่เคยถูกนำไปใช้ประโยชน์ สามารถนำไปใช้ในการประเมินในปีถัดไปได้ โดยงานวิจัยดังกล่าวต้องแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาต่อยอดอย่างเป็นรูปธรรม
4. บุคคลที่สามารถรับรองการนำไปใช้ประโยชน์ได้ให้ใช้เกณฑ์เดียวกับตัวบ่งชี้ที่ 1.8
5. คำอธิบายของสูตรคำนวณ
ตัวตั้ง หมายถึง ผลรวมของงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ที่ใช้ประโยชน์ในปีที่ประเมิน
ตัวหาร หมายถึง จำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมิน (งานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยในปีที่ประเมินเท่านั้น โดยมีสัญญาการรับทุนสนับสนุนการวิจัย และห้ามนับซ้ำ)
ในปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ มีจำนวนจำนวนชิ้นงานวิจัย ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน จำนวน 3 ชิ้นงาน จากจำนวนงานวิจัยทั้งหมดที่ได้รับทุนในปีงบประมาณ 2566 จำนวน 5 ชิ้นงาน คิดเป็นร้อยละ 60 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 30 เท่ากับ 5 คะแนน คะแนนที่ได้เท่ากับ 5 คะแนน
ลำดับ |
ผู้วิจัย |
ชื่อโครงการวิจัย |
การนำไปใช้ประโยชน์ |
หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ |
1 |
นิตยา จันทบุตร |
ผลของโปรแกรมการฝึกการขับถ่ายปัสสาวะและบริหารอุ้งเชิงการต่อความรุนแรงของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลำพัง |
เชิงวิชาการ นำไปใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ |
มหาวิทยาลัยราชธานี |
2 |
พุทธิพร พิธานธนานุกูล |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ สุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุในตำบลดวนใหญ่ อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ |
เชิงนโยบาย นำไปใช้วางแผนการดูแลผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดสุขภาวะแบบองค์รวมในพื้นที่ตำบลดวนใหญ่
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดวนใหญ่ |
3 |
สุภาพร พลายระหาร ลัดดา แสนสีหา |
ปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุและผู้ดูแลในชุมชน ดวนใหญ่ อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ |
เชิงนโยบาย นำไปใช้วางแผนการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบล ดวนใหญ่ |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดวนใหญ่ |
4 |
พรปวีณ์ ชื่นใจเรือง ชัญน์รภัส สุทาวัน |
การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะแบบองค์รวมของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในตำบลดวนใหญ่ อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ |
เชิงนโยบาย นำไปใช้วางแผนการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบล ดวนใหญ่ |
องค์การบริหารส่วนตำบลดวนใหญ่ |
5 |
ผศ.ดร.ลัดดาแสนสีหา, จินตนา ลี้ละไกรวรรณ, นิตยา จันทบุตร, ศรินรัตน์ จันทพิมพ์, และทิพย์สุดา ธรรมลาภากุล |
ภาวะสุขภาพและจิตสังคมของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังในชุมชน |
เชิงนโยบาย นำไปใช้วางแผนการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลพยุห์ |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพยุห์ |
รหัสหลักฐาน | เอกสารหลักฐาน | |
---|---|---|
2.4 - (1) | เอกสารการรับรองงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ |
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
ร้อยละ 100 | 5 คะแนน |