ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

ปีที่ประเมิน 2565
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : วิภาวดี ทวี , ปวริศา แดงงาม , ธัญทิพ บุญเยี่ยม , จุฑาสินี ชนะศึก , ปัญญณัฐ ศักดิ์สิทธานุภาพ
ชนิดตัวบ่งชี้ : ปัจจัยนำเข้า
คำอธิบายตัวบ่งชี้

มหาวิทยาลัยถือเป็นขุมปัญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบที่จะต้องส่งเสริมให้อาจารย์ในมหาวิทยาลัยทำการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ การดำรงตำแหน่งทางวิชาการเป็นสิ่งสะท้อนการปฏิบัติงานดังกล่าวของอาจารย์ตามพันธกิจ

เกณฑ์การประเมิน

โดยการแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ เป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5

 

เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกัน ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ

1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ตามสูตร

จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
----------------------------------------------------------------------------------------------      x   100
จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------      x      5
ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5
หมายเหตุ

1. การนับจำนวนอาจารย์ประจำ ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ
2. การนับจำนวนคุณวุฒิปริญญาเอกและตำแหน่งทางวิชาการ (ตัวตั้ง) และจำนวนอาจารย์ (ตัวหาร) พิจารณาจาก
    2.1 กรณีตัวตั้งให้นับเป็นจำนวนเต็ม
    2.2 ตัวหาร
        2.2.1 เฉพาะอาจารย์ใหม่นับตามเกณฑ์ของ สกอ.
        2.2.2 อาจารย์เก่านับเป็นจำนวนเต็ม อาจารย์เก่าที่ย้ายออกจากหลักสูตร/คณะให้นับเป็นจำนวนเต็ม
3. กรณีอาจารย์สังกัดหลักสูตรที่ไม่ได้อยู่ในคณะที่ตนเองสังกัด
    3.1 ระดับหลักสูตรให้นับในหลักสูตรที่สังกัด
    3.2 ระดับคณะให้นับในคณะที่สังกัด

ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีจำนวนอาจารย์ทั้งหมด 51 คน อาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง จำนวน  49 คน จำนวนอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ จำนวน 2 คน  รวมอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ จำนวน 51 คน

ระยะเวลา

จำนวน(คน)

นับเป็น

ระยะเวลาการทำงาน 9-12 เดือน  

48

48

ระยะทำงาน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน

0

0

น้อยกว่า 6 เดือน

0

0

ลาศึกษาต่อ

2

2

รวม

51

51

อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ

1. อาจารย์วีระชาติ ดวงมาลา

2. ผศ.อินทิรา ศักดิ์เมียนแก้ว

ตารางแสดงอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 17 คน

ลำดับที่

ชื่อ - สกุล

ระดับ
การศึกษาสูงสุด

ตำแหน่งทางวิชาการ

1.

รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอร  แสนภูวา

ปริญญาเอก

รองศาสตราจารย์

2.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวดี  ทะไกรราช

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

3.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิจติพงษ์ ประชาชิต

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

4.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาสนะ  เชิดชู

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

5.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดศักดิ์  ฉายถวิล

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

6.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนันศักดิ์  พวงอก

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

7.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ คำนนท์

ปริญญาเอก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

8.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนพล  วิยาสิงห์

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

9.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อานนท์  ตั้งพิทักษ์ไกร

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

10.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัญญณัฐ  ศักดิ์สิทธานุภาพ

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

11.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุมาพร  ประชาชิต

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

12.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บูรณ์เชน  สุขคุ้ม

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

13.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรเทพ เจิมขุนทด

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

14.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กณิชฑ์ ธีรสิทธางกูร

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

15.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อินทิรา ศักดิ์เมียนแก้ว

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

16.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภิรัญญา จันทร์เปล่ง

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

17.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสถียร สีชื่น

ปริญญาโท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

 

สูตรการคำนวณ

     1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการตามสูตร  

 

จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการ

X 100

จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด

 

 

17

  X 100      =   ร้อยละ 33.33

51

 

   

 

 

 2. แปลงจำนวนเงินที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

 

  

 คะแนน   =

ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการ           

X 5

ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีตำแหน่งทางวิชาการที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5

 

 คะแนน    =

33.33

  X   5

=   2.78  คะแนน

60

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
2.78 2.78