การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ และความลุ่มลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสำคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนั้นคณะจึงควรมีอาจารย์ที่มีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่เปิดสอนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับพันธกิจ หรือจุดเน้นของหลักสูตร
โดยการแปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เป็นคะแนนระหว่าง 0 – 5
ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำสถาบันที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ตามสูตร
จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 100 |
จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด |
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
คะแนนที่ได้ | = | ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก |
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- x 5 | ||
ร้อยละของอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 |
1. คุณวุฒิปริญญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการสำเร็จการศึกษาภายในรอบปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ อาจใช้คุณวุฒิอื่นเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้สำหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพมีคุณวุฒิอื่นที่เหมาะสมกว่า ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา
2. การนับจำนวนอาจารย์ประจำ ให้นับตามปีการศึกษาและนับทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ ในกรณีที่มีอาจารย์บรรจุใหม่ให้คำนวณตามเกณฑ์อาจารย์ประจำที่ระบุในคำชี้แจงเกี่ยวกับการนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย (นับตามเกณฑ์ สกอ.)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีจำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 50 คน ลาศึกษาต่อ จำนวน 2 คน มีอาจารย์ที่มีระยะเวลาการทำงาน 9 เดือนขึ้นไป จำนวน 45 คน ต่ำกว่า 9 เดือน 1 คน ต่ำกว่า 6 เดือน 2 คน รวมจำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ เท่ากับ 45.5 คน โดยมีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวนทั้งหมด 8 คน ได้แก่
1. ผศ.ดร.เอมอร แสนภูวา
2. ผศ.ดร.นิภาวดี ทะไกรราช (เปลี่ยนชื่อเป็น*ภาวดี)
3. ผศ.ดร.กิจติพงษ์ ประชาชิต
4. ผศ.ดร.อาสนะ เชิดชู
5. ผศ.ดร.เชิดศักดิ์ ฉายถวิล
6. ผศ.ดร.อนันศักดิ์ พวงอก
7. ผศ.ดร.กฤษณ์ คำนนท์
8. ดร.สีหนาท ลอบมณี
* * อาจารย์ลาศึกษาต่อ (นายอภิสิทธิ์ ไชยยงค์และนางสาวปัญญณัฐ ศักดิ์สิทธานุภาพ)
ระยะเวลาในการทำงาน/ เดือน |
วุฒิการศึกษา |
คิดเป็น |
||
ปริญญาตรี |
ปริญญาโท |
ปริญญาเอก |
||
ลาศึกษาต่อ |
0 |
2 |
0 |
2 |
9 เดือนขึ้นไป |
1 |
36 |
8 |
45 |
ต่ำกว่า 9 เดือน |
0 |
1 |
0 |
1 |
ต่ำกว่า 6 เดือน |
0 |
2 |
0 |
2 |
รวม |
1 |
41 |
8 |
50 |
คำนวณ =
|
|
8 |
X 100 |
=17.58 |
|
45.5 |
คะแนนที่ได้ =
|
|
17.58 |
X 5 |
= 2.19 |
|
40 |
การบรรลุเป้าหมาย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บรรลุเป้าหมาย ในตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก โดยมีผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ 17.97 ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด
การประเมินตนเอง
เป้าหมาย |
ผลการดำเนินงาน |
คะแนนที่ประเมินตนเอง |
ร้อยละ 17 |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีการดำเนินงาน ในตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก คิดเป็นร้อยละ 17.58 |
2.19 |
รหัสหลักฐาน | เอกสารหลักฐาน | |
---|---|---|
1.2 - (1) | อาจารย์ วุฒิ ป.เอก |
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
2.19 | 2.19 |