✓ | 1 | มีระบบและกลไกในการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรให้เป็นไปตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ดำเนินงานตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564 5.3-1(1) และระบบและกลไกการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.3-1(2) คณะมนุษย์ฯ ดังนี้
ระบบควบคุมคุณภาพ
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร 5.3 - 1(3) เพื่อดำเนินการตามนโยบายด้านประกันคุณภาพการศึกษา และดำเนินงานตามปฏิทินการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในปีการศึกษา 2564 5.3 - 1(4) อีกทั้งได้จัดทำคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินงานของอาจารย์ประจำหลักสูตรตามเกณฑ์ตัวบ่งชี้ 5.3 - 1(5) นอกจากนี้ยังได้จัดการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมด้านการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งระดับหลักสูตรและระดับคณะ โดยจัดเป็นจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมการลงระบบ CHE QA 5.3 - 1(6) ให้แก่บุคลากร เมื่อวันที่ 8 มิ.ย. 2565 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับเอกสารหลักฐาน และวิพากษ์ SAR รวมถึงการอัพโหลด การกรอกข้อมูลในระบบ CHE QA ONLINE
ระบบตรวจสอบคุณภาพ
มีการจัดทำแผนประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564 5.3 - 1(7) โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาดำเนินการตรวจสอบตามแผน 5.3 - 1(8) และแนวปฏิบัติด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประเมินคุณภาพ
มีการจัดทำกำหนดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564 5.3 - 1(9) และมีการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร 5.3 - 1(10) จากนั้นทุกหลักสูตรเข้ารับการประเมินและรายงานผลการประเมิน 5.3 - 1(11)
| |
✓ | 2 | มีคณะกรรมการกำกับ ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบที่กำหนดในข้อ 1 และรายงานผลการติดตามให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาทุกภาคการศึกษา | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน กำกับ ติดตามการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะฯ 5.3 - 2(1) และระดับหลักสูตร 5.3 - 2(2) เพื่อดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบ ขั้นตอนที่กำหนดไว้ โดยมีการจัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา 5.3 - 2(3) เพื่อชี้แจงรายระเอียดการดำเนินโครงการ กิจกรรม ตามแผนและปฏิทินการดำเนินงาน จากนั้นนำข้อมูลการดำเนินงานรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อให้ข้อเสนอแนะ
| |
✓ | 3 | มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรให้เกิดผลตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้จัดสรรงบประมาณให้แต่ละหลักสูตร เพื่อการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีโครงการหลักของแต่ละหลักสูตร 3 โครงการ ได้แก่
1. โครงการบริหารจัดการหลักสูตร ซึ่งประกอบไปด้วยการจัดซื้อวัสดุสำนักงานสำหรับสาขาวิชา และกิจกรรมอื่นนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในแผน
2. โครงการบริการวิชาการ
3. โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและศึกษาดูงาน ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
งบประมาณที่ได้รับจัดสรรทุกหลักสูตร 5.3 - 3(1) เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2565 และปีงบประมาณ 2564
หลักสูตร
|
ได้รับจัดสรรปี 64
|
ได้รับจัดสรรปี 65
|
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
|
70,000
|
50,000
|
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
|
85,000
|
65,000
|
สาขาวิชาภาษาจีน
|
70,000
|
53,000
|
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
|
45,000
|
42,000
|
สาขาวิชาบรรณรักษศาสตร์ฯ
|
35,000
|
35,000
|
สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ
|
45,000
|
45,000
|
สาขาวิชานิเทศศาสตร์
|
45,000
|
45,000
|
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
|
80,000
|
60,000
|
สาขาวิชาประวัติศาสตร์
|
50,000
|
40,000
|
นอกจากนี้คณะฯได้จัดสรรงบ ประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากร คนละ 5,000 บาท / ปีงบประมาณ 5.3 - 3(2) ทั้งนี้งบประมาณดังกล่าวได้จัดสรรไว้ที่คณะฯ อีกทั้งคณะฯได้จัดสรรสิ่งสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรต่าง ๆ อันได้แก่ ห้องพักอาจารย์ 5.3 - 3(3) ห้องงานวิจัยเพื่อให้คำปรึกษาแก่อาจารย์ด้านการวิจัย ห้องสโมสรนักศึกษา ห้องสมุดสาขา ห้องวัฒนธรรมจีน ญี่ปุ่น และห้องปฏิบัติการทางภาษา 5.3 - 3(4) เพื่อให้อาจารย์และนักศึกษาได้ค้นคว้าหาข้อมูลที่ไม่สามารถหาได้จากห้องสมุดกลาง ห้องวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการดำเนินการจัดการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมของนักศึกษา
| |
✓ | 4 | มีการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกำหนดเวลาทุกหลักสูตร และรายงานผลการประเมิน ให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา | ทุกสาขาวิชาต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้นำ Improvement-Plan จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรทุกหลักสูตร ปีการศึกษา 2563 มาปรับปรุงการดำเนินงานของหลักสูตร โดยการดำเนินการตามปฏิทินดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564 (5.3 - 4(1)) จากนั้นได้นำข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินในรอบการประเมิน ประจำปีการศึกษา 2563 มาปรับปรุง เพื่อเข้ารับการประเมินในปีการศึกษา 2564 ระหว่างวันที่ 20-24 มิถุนายน 2565 โดยการเชิญคณะกรรมการผู้ตรวจประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรที่มีรายชื่อเป็นผู้ประเมินของ สกอ. และเป็นผู้ประเมินที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละหลักสูตร 5.3 - 4(11) โดยมีหลักสูตรที่เข้ารับการประเมินจากคณะกรรมการภายนอก 9 หลักสูตร ได้แก่
1. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาจีน 5.3 - 4(2)
2. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น 5.3 - 4(3)
3. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 5.3 - 4(4)
4. หลักสูตรนศ.บ. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 5.3 - 4(5)
5. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาบรรณรักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 5.3 - 4(6)
6. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ 5.3 - 4(7)
7. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาประวัติศาสตร์ 5.3 - 4(8)
8. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 5.3 - 4(9)
9. หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน 5.3 - 4(10)
ผลการประเมิน 9 หลักสูตร ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง 9 หลักสูตร
5.3 - 4(12) อยู่ในระดับดี จากนั้นได้รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรต่อคณะกรรมการประจำคณะฯ เพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ และนำข้อเสนอแนะดังกล่าวไปพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้เกิดคุณภาพดีขึ้น
| |
✓ | 5 | นำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากกรรมการประจำคณะมาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง | ในปีการศึกษา 2564 ทุกหลักสูตร ได้ดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาคุณภาพ จากการประเมิน ปีการศึกษา 2563 (5.3 - 5(4) 5.3 - 5(5) 5.3 - 5(6) 5.3 - 5(7) 5.3 - 5(8) 5.3 - 5(9) 5.3 - 5(10) 5.3 - 5(11) 5.3 - 5(12) ได้นำผลการประเมินและข้อเสนอแนะ Improvement-Plan ปีการศึกษา 2563 จากกรรมการประจำคณะมาปรับปรุง 5.3 - 5(2) เพื่อรับการประเมิน ในปีการศึกษา 2564 และพบว่า มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน จำนวน 9 หลักสูตร 5.3 - 5(1) เมื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2562 และ 2563 พบว่าใน ปีการศึกษา 2564 มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐานระดับคุณภาพดี จำนวน 9 หลักสูตร อย่างต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา 5.3 - 5(3) ส่งผลให้การประเมินในภาพรวมมีคะแนนในปีการศึกษา 2561 =3.06 ปีการศึกษา 2562 = 3.49 ปีการศึกษา 2563 = 3.63 คะแนน และปีการศึกษา 2564 = 3.79 โดยมีคะแนนดีขึ้นตามลำดับ โดยมีรายละเอียดดังตาราง ดังต่อไปนี้
ตารางสรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2564
ตัวบ่งชี้คุณภาพ
|
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
|
สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
|
สาขาวิชานิเทศศาสตร์
|
สาขาวิชาภาษาจีน
|
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
|
สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศาสตร์
|
สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ
|
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
|
สาขาวิชาประวัติศาสตร์
|
รวม
|
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1
|
การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ.
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
ผ่าน
|
34.09
|
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1
|
คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
|
4.33
|
4.41
|
4.57
|
4.50
|
4.38
|
5.00
|
4.25
|
4.39
|
4.75
|
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2
|
การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา
|
4.31
|
4.86
|
2.14
|
4.25
|
3.68
|
5.00
|
3.88
|
4.27
|
5.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1
|
การรับนักศึกษา
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
3.00
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2
|
การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3
|
ผลที่เกิดกับนักศึกษา
|
4.00
|
3.00
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1
|
การบริหารและพัฒนาอาจารย์
|
3.00
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2
|
คุณภาพอาจารย์
|
5.00
|
2.78
|
3.78
|
0.83
|
2.22
|
3.33
|
3.89
|
1.67
|
1.56
|
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3
|
ผลที่เกิดกับอาจารย์
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1
|
สาระรายวิชาในหลักสูตร
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2
|
การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3
|
การประเมินผู้เรียน
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
3.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4
|
ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
5.00
|
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1
|
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
|
3.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
4.00
|
3.00
|
4.00
|
4.00
|
3.00
|
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้
|
3.74
|
3.62
|
3.73
|
3.66
|
3.71
|
3.96
|
3.93
|
3.87
|
3.87
|
3.79
|
คะแนนรายงาน CHE QA Online
|
3.74
|
3.62
|
3.73
|
3.66
|
3.71
|
3.96
|
3.93
|
3.87
|
3.87
|
3.79
|
ผลการประเมินอยู่ในระดับ
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ดี
|
ตารางเปรียบเทียบผลการประเมิน 9 หลักสูตร 5.3 - 5(3) ปีการศึกษา 2561-2564
ที่
|
สาขาวิชา
|
ปีการศึกษา 2562
|
ปีการศึกษา 2563
|
ปีการศึกษา 2564
|
คะแนน
|
ระดับคุณภาพ
|
องค์ที่ 1
|
คะแนน
|
ระดับคุณภาพ
|
องค์ที่ 1
|
คะแนน
|
ระดับคุณภาพ
|
องค์ที่ 1
|
1
|
การพัฒนาชุมชน
|
3.83
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.69
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.74
|
ดี
|
ผ่าน
|
2
|
ภาษาอังกฤษธุรกิจ
|
3.43
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.61
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.62
|
ดี
|
ผ่าน
|
3
|
นิเทศศาสตร์
|
3.54
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.63
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.73
|
ดี
|
ผ่าน
|
4
|
ภาษาจีน
|
3.24
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.67
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.66
|
ดี
|
ผ่าน
|
5
|
ภาษาญี่ปุ่น
|
3.45
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.86
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.71
|
ดี
|
ผ่าน
|
6
|
บรรณรักษศาสตร์ฯ
|
3.26
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.57
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.96
|
ดี
|
ผ่าน
|
7
|
ศิลปะและการออกแบบ
|
3.35
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.65
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.93
|
ดี
|
ผ่าน
|
8
|
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
|
3.62
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.31
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.87
|
ดี
|
ผ่าน
|
9
|
ประวัติศาสตร์
|
3.71
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.64
|
ดี
|
ผ่าน
|
3.87
|
ดี
|
ผ่าน
|
รวมคะแนนเฉลี่ยทุกสาขาวิชา
|
3.49
|
3.63
|
3.79
|
| |
✓ | 6 | มีผลการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ดำเนินการตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร จากการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2564 5.3 - 6(1) ระหว่างวันที่ 20-24 มิถุนายน 2565 โดยมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี จำนวน 9 หลักสูตร เข้ารับการตรวจประเมิน ดังนี้
1. สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
2. สาขาวิชาประวัติศาสตร์
3. สาขาวิชานิเทศศาสตร์
4. สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ
5. สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ
6. สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
7. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
8. สาขาวิชาภาษาจีน
9. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
ผลการประเมิน 5.3 - 6(2) มีหลักสูตรที่ผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน จำนวน 9 หลักสูตร จาก 9 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100
| |