✓ | 1 | มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกส่งเสริมให้มีการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน | มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีระบบและกลไกส่งเสริมให้ทุกคณะ/วิทยาลัย มีการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ดังนี้
1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 (5.1-1(1)) เพื่อทำหน้าที่กำกับ ติดตาม จัดเก็บข้อมูล ปฏิบัติงานให้สอดคล้องและเป็นไปตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2564 และจัดทำรายงานการประเมินตนเองในระดับสถาบัน สำหรับองค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
2. มีการจัดทำประกาศ เรื่อง ระบบและกลไกการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (ระดับสถาบัน) (5.1-1(2)) เพื่อเป็นแนวทางให้ทุกคณะใช้ในการขับเคลื่อนและบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน โดยคณะกรรมการให้ความเห็นชอบตามประกาศเดิม ไม่ได้มีการปรับปรุงแก้ไข และในปีการศึกษา 2564 ได้นำประกาศฯ เข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ก.บ.) ในคราวประชุมครั้งที่ 11/2564 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 (5.1-1(3)) เพื่อถ่ายทอดนโยบายสู่คณะต่างๆ
3. มีการจัดทำประกาศ เรื่อง นโยบายการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (5.1-1(4)) เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานโดยให้ทุกคณะดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานอย่างน้อย 2 หลักสูตร ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ก.บ.) ครั้งที่ 11/2564 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 (5.1-1(5)) มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนแบบบูรณาการกับการทำงานเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและความต้องกการที่หลากหลายของประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม สถานประกอบการทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
4. มีการจัดทำปฏิทินการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ประจำปีการศึกษา 2564 (5.1-1(6)) เพื่อให้การบริหารจัดการและการดำเนินงานของคณะทำงานมีความชัดเจนเป็นระบบ
5. มีการกำกับติดตามการดำเนินงานของคณะ/หลักสูตรตามระบบและกลไกของมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพ จนส่งผลให้ทุกคณะมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง (5.1-1(7)) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (5.1-1(8)) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะบริหารธุริจและการบัญชี (5.1-1(9)) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะครุศาสตร์ (5.1-1(10)) แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (5.1-1(11))
| |
✓ | 2 | มีการกำกับ ติดตามให้ทุกคณะดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนด | มหาวิทยาลัย มีการกำกับ ติดตามให้ทุกคณะดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนด ดังนี้
1. มีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2564 (5.1-2(1)) เพื่อทบทวนระบบและกลไกการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ดังนี้
1.1 รับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ประจำปีการศึกษา 2564
1.2 รับทราบกรอบปฏิทินการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ประจำปีการศึกษา 2564
1.3 ทบทวนระบบและกลไกการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน เพื่อให้มีแนวปฏิบัติที่ดี
2. มีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 (5.1-2(2)) เพื่อพิจารณาประเด็นต่างๆ ดังนี้
2.1 รายงานข้อมูลการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี (KM) ในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ปีการศึกษา 2564
2.2 รับทราบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564
2.3 เพื่อกำกับติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าตามพันธกิจของคณะ และแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนทั้งระดับคณะ และระดับหลักสูตร (5.1-2(4))
3. มีการกำกับติดตามให้ทุกคณะดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงานอย่างต่อเนื่อง จนส่งผลให้ปีการศึกษา 2564 ทุกคณะมีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน จำนวน 44 หลักสูตร จากจำนวนหลักสูตรระดับปริญญาตรีทั้งหมดจำนวน 44 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100 โดยแยกเป็นคณะ/วิทยาลัย ดังนี้
3.1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 8 หลักสูตร คือ การพัฒนาชุมชน , นิเทศศาสตร์ , ภาษาอังกฤษธุรกิจ , ภาษาจีน , ภาษาญี่ปุ่น , ศิลปะและการออกแบบ , ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร , ประวัติศาสตร์
3.2 คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี จำนวน 8 หลักสูตร คือ การบัญชี , คอมพิวเตอร์ธุรกิจ , การจัดการ , การตลาด , การท่องเที่ยวและการโรงแรม , เศรษฐศาสตร์การเงินและการคลัง , บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ, การจัดการการค้าสมัยใหม่
3.3 คณะครุศาสตร์ จำนวน 11 หลักสูตร คือ การศึกษาปฐมวัย , การปฐมศึกษา , ภาษาไทย , คณิตศาสตร์ , วิทยาศาสตร์ , สังคมศึกษา , ภาษาอังกฤษ , คอมพิวเตอร์ศึกษา , ดนตรีศึกษา , พลศึกษา , การสอนภาษาจีน
3.4 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จำนวน 11 หลักสูตร คือ เทคโนโลยีการเกษตร,วิทยาศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมซอฟต์แวร์,สาธารณสุขชุมชน,วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม,วิทยาการคอมพิวเตอร์,วิทยาศาสตร์การกีฬา,วิศวกรรมโลจิสติกส์,วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร,เทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์,เทคโนโลยีโยธาและสถาปัตยกรรม,เทคโนโลยีการจัดการอุตสหกรรม
3.5 วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง จำนวน 2 หลักสูตร คือ รัฐศาสตร์ , รัฐประศาสนศาสตร์
ตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษได้ดำเนิน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่เป็นหลักสูตรร่วมของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ กับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด โดยจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ การเรียนรู้ภาคปฏิบัติการด้านการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ณ บริษัทซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือฯ
| |
✓ | 3 | มีการกำกับ ติดตามให้ทุกคณะประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนที่กำหนด | มหาวิทยาลัย มีการกำกับ ติดตามให้ทุกคณะประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนที่กำหนด ดังนี้
มีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 (5.1-3(1)) เพื่อกำกับติดตามผลการดำเนินงานและความก้าวหน้าของคณะ (5.1-3(2)) และรวบรวมผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน (5.1-3(3)) เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ก.บ.) ทราบ
- รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง (5.1-3(4))
- รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (5.1-3(5))
- รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี (5.1-3(6))
- รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะครุศาสตร์ (5.1-3(7))
- รายงานผลการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (5.1-3(8))
ผลการประเมินติดตามให้ทุกคณะประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนที่กำหนด ดังนี้
ตัวชี้วัดมหาวิทยาลัย
|
หน่วยนับ
|
ค่าเป้าหมาย
|
ผลการดำเนินงาน
|
2563
|
2564
|
2565
|
บรรลุ
|
ไม่บรรลุ
|
1. ร้อยละของจำนวนหลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน
|
หลักสูตร
|
70
|
80
|
90
|
/
|
|
2.นักศึกษามีความพร้อมในการที่จะออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือฝึกสหกิจศึกษา
|
คน
|
20
|
30
|
40
|
/
|
|
3.นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สอบผ่านรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
|
คน
|
20
|
20
|
20
|
/
|
|
4.นักศึกษาผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงาน
|
ร้อยละ
|
85
|
90
|
95
|
/
|
|
5. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเป็นรายวิชาฝึกที่ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
|
หลักสูตร
|
12
|
15
|
16
|
/
|
|
6.จำนวนสถานประกอบการที่ร่วมมือ
|
เครือข่าย
|
5
|
10
|
15
|
|
/
|
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (ก.บ.)
ข้อเสนอแนะ
|
แนวทางการดำเนินงาน
|
ระยะเวลาดำเนินงาน
|
ผู้รับผิดชอบ
|
1. ควรมีการกำหนดแบบฟอร์มการจัดเก็บผลผลการประเมินความสำเร็จของแผน
|
คณะกรรมการดำเนินงาน ออกแบบ แบบฟอร์มการจัดเก็บผลผลการประเมินความสำเร็จของแผน
|
ปีการศึกษา 2565
|
คณะกรรมการดำเนินงาน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
|
2. มีการกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายให้ชัดเจน
|
คณะกรรมการดำเนินงาน กำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายให้ชัดเจน
|
ปีการศึกษา 2565
|
คณะกรรมการดำเนินงาน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
|
| |
✓ | 4 | มีการนำผลไปปรับปรุงระบบและกลไกตามข้อ 1 | มหาวิทยาลัยมีการนำผลไปปรับปรุงระบบและกลไกตามข้อ 1 ดังนี้
1. มีการจัดประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2564 ครั้งที่ 1/2564 ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 (5.1-4(1)) เพื่อทบทวนระบบและกลไกการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และมีการนำผลไปปรับปรุงระบบและกลไก ดังนี้
2. มีการนำข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานฯ มาปรับปรุง ประกาศ เรื่อง ระบบและกลไกการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน (ระดับสถาบัน)
ข้อเสนอแนะ |
แนวทางการดำเนินงาน |
ผู้รับผิดชอบ |
1.การจัดการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียนด้วยการเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ในชั้นเรียนหรือสถานศึกษากับประสบการณ์การทำงาน ในแหล่งเรียนรู้ในสภาพจริงนอกสถานศึกษาที่ได้รับการออกแบบไว้ในหลักสูตรอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ ผู้เรียนบรรลุผ ลลัพ ธ์ก ารเรียนรู้ต ามที่กำหนด |
กำหนดนโยบายแนวทางการจัดการเรียนรู้ร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยมีการทำบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานภายนอก |
คณะกรรมการดำเนินงานตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้ |
2.ควรกำหนดวัตถุประสงค์ แนวทางการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Education) ให้ชัดเจนภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานวิชาชีพ
|
ผู้บริหาร คณะกรรมการดำเนินงานตามพันธกิจ ฯ ร่วมออกแบบ แนวทางการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Education)กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษาสามารถนำไปจัดทำหลักสูตร ออกแบบการเรียนการสอนได้อย่าง ยืดหยุ่น เน้นความแตกต่างและหลากหลายตามลักษณะเฉพาะของแต่ละสาขาวิชาชีพ สภาพพื้นที่ตั้ง บริบทของสถานศึกษาแต่ละแห่ง และสอดรับกับแหล ่งเรียนรู้ในสภาพจริง ที ่มุ ่งเน้นให้ผู้เรียนบรรลุ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรหรือเป็นการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education) ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานวิชาชีพ |
ผู้บริหาร /คณะกรรมการดำเนินงานตามพันธกิจด้านการจัดการเรียนรู้ |
3. มีการกำหนดทิศทางการพัฒนาด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยในปีการศึกษา 2564 กำหนดให้มีการดำเนินงานบูรณาการหลักสูตรกับการทำงานคณะ/วิทยาลัย ละ 3 หลักสูตร รวมทั้งสิ้น 15 หลักสูตร และในปีการศึกษา 2564 มีการเพิ่มเป้าหมายการพัฒนาโดยกำหนดและส่งเสริมให้ทุกหลักสูตรมีการบูรณาการกับการทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี
| |