ในช่วงปีแรกของการศึกษา ต้องมีกลไกในการพัฒนาความรู้พื้นฐานหรือการเตรียมความพร้อมทางการเรียนแก่นักศึกษา เพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาได้อย่างมีความสุข อัตราการลาออกกลางคันน้อย ในระหว่างการศึกษามีการจัดกิจกรรมการพัฒนาความรู้ความสามารถในรูปแบบต่างๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดีที่มีจิตสำนึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ (ระดับปริญญาตรี โท เอก) ระบบการป้องกันหรือการบริหารจัดการความเสี่ยงของนักศึกษา เพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด รวมทั้งการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ได้มาตรฐานสากล
ในการรายงานการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้
- การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี
- การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ แก่บัณฑิตศึกษา
- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดำเนินงานทั้งหมด ที่ทำให้นักศึกษาเรียนอย่างมีความสุขและมีทักษะที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพในอนาคต
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
• ไม่มีระบบ • ไม่มีกลไก • ไม่มีแนวคิดในการกำกับติดตามและปรับปรุง • ไม่มีข้อมูลหลักฐาน |
• มีระบบมีกลไก • ไม่มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน |
• มีระบบมีกลไก • มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน • มีการประเมินกระบวนการ • ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ |
• มีระบบมีกลไก • มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน • มีการประเมินกระบวนการ • มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน |
• มีระบบมีกลไก • มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน • มีการประเมินกระบวนการ • มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน • มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม |
• มีระบบ มีกลไก • มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน • มีการประเมินกระบวนการ • มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการจากผลการประเมิน • มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม • มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดย มีหลักฐานเชิงประจักษ์ ยืนยัน และกรรมการ ผู้ตรวจประเมิน สามารถ ให้เหตุผลอธิบายการ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ ชัดเจน |
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาผ่านช่องทางระบบอาจารย์ที่ปรึกษาและงานด้านการดำเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้านการควบคุมดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรใช้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาของวิทยาลัยฯโดยมีระบบและกลไกสู่การปฏิบัติดังนี้ หลักสูตรมีกลไกการพัฒนาความรู้พื้นฐานหรือการเตรียมความพร้อมทางการเรียนแก่นักศึกษา เพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา ได้อย่างมีความสุข มีอัตราการลาออกกลางคันน้อย ในระหว่างการศึกษามีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดีมีจิตสำนึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ ระบบการป้องกันหรือการบริหารความเสี่ยงของนักศึกษาเพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด รวมทั้งการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ได้มาตรฐานสากล โดยมีการดำเนินการที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้ 1. การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา 2. การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดให้มีการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาตามระบบพัฒนานักศึกษาของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง 5 ระบบ ได้แก่ (1) ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา (2) ระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (3) ระบบส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการ (4) ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา (กิจกรรมชมรม กิจกรรมบังคับ และกิจกรรมเลือก) (5) ระบบส่งนักศึกษาเข้าร่วมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และได้มีการดำเนินการตามระบบ ดังนี้ ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา ระบบกำหนดให้นักศึกษาทุกคนมีอาจารย์ที่ปรึกษา กำหนดบทบาทหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ อาทิการลงทะเบียน การพัฒนาศักยภาพทางการเรียน การใช้ชีวิตที่มีคุณภาพ กำหนดกิจกรรมพบอาจารย์ที่ปรึกษาทุกภาคการศึกษา ขยายช่องทางในการสื่อสารระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษา และหลักสูตรกับนักศึกษา อาทิ ทาง facebookของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง , facebook สาขาวิชารัฐศาสตร์ , Iineกลุ่มสาขารัฐศาสตร์ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ และรับเรื่องร้องทุกข์ของนักศึกษาเพื่อการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที กำหนดบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีหน้าที่พัฒนาระบบและกลไกด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาของหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กำกับ ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีหน้าที่ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อให้วัตถุประสงค์ของกิจกรรมด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาซึ่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีแนวทางในการควบคุมการดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา ดังนี้ 1. มีการจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา 2. อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการมีเวลาให้การดูแลนักศึกษา 3. มีการแนะนำการลงทะเบียนเรียนโดยคำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ และศักยภาพของนักศึกษา 4. การจัดเก็บข้อมูลประวัตินักศึกษาเพื่อการรู้จักนักศึกษา การแลกเปลี่ยนข้อมูลนักศึกษาในกลุ่มอาจารย์ผู้สอนเพื่อการพัฒนานักศึกษา 5. อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนหรือต้องการความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ 6. การจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา 7. มีช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา ระบบส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักสูตรฯ ได้ประยุกต์ใช้ระบบส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ตั้งแต่ • การกำหนดคุณสมบัติของนักศึกษา (ชั้นปี และรายวิชาที่สอบผ่านก่อนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ) • กำหนดสถานประกอบการ • กำหนดวิธีการสมัคร และวิธีการคัดเลือกของสถานประกอบการ • กำหนดขอบเขตหน้าที่ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ • กำหนดการปฐมนิเทศ • กำหนดวิธีการรายงานตัว การปฏิบัติงาน • กำหนดค่าตอบแทนและสิ่งอำนวยความสะดวกขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพ • กำหนดการวิธีและเกณฑ์การวัดผลและการประเมินผล • กำหนดวิธีการนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ • กำหนดแนวปฏิบัติหลังจากเดินทางกลับจากสถานประกอบการ ในปีการศึกษา 2562หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) มีนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพไปยังหน่วยงานภาครัฐ โดยผ่านกระบวนการบริหารจัดการของศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง 1.1เมื่อหลักสูตรได้รับนักศึกษาใหม่ตามแผนรับที่กำหนดไว้ หลักสูตรจะกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษา 2 คน ต่อจำนวนนักศึกษา 1 หมู่เรียน โดยคัดเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาตามลักษณะเฉพาะของอาจารย์ เช่น อาจารย์ที่มีความแม่นยำในการจัดแผนการเรียนการโอน การยกเว้นรายวิชา เป็นต้น 1.2หน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาจะถูกกำหนดไว้ในคำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา โดยต้องให้คำปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ และการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยจัดตารางการเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาในตารางสอนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1.3สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบแผนการเรียนให้กับนักศึกษาทุกคน และจัดแผนการเรียนให้แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลที่มีผลการเรียนต่างจากคนอื่น 1.4มหาวิทยาลัยฯ มีระบบทะเบียนออนไลน์ ที่ใช้เป็นฐานข้อมูลของนักศึกษา เช่น ประวัติการศึกษา ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ผลการเรียนในอดีตถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นสาขายังให้นโยบายแก่อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนต้องจัดทำแฟ้มประวัติของนักศึกษาในที่ปรึกษาของตนเพิ่มเติม 1.5สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเพิ่มเติมความรู้เป็นพิเศษแก่นักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ำ เช่น ระบบ Coaching โดยให้นักศึกษาที่เรียนดีกำกับนักศึกษาที่เรียนอ่อน ระบบพี่แนะน้อง เป็นต้น 1.6สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องพิมพ์ใบแจ้งผลการเรียนของนักศึกษารายบุคคลออกจากระบบทุกภาคการศึกษาเพื่อประกอบการวางแผนการเรียนให้กับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (เกรดเฉลี่ยต่ำ) และจัดแผนการเรียนตลอดหลักสูตรให้แก่นักศึกษากลุ่มดังกล่าว 1.7อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถติดต่อนักศึกษาได้โดยดูข้อมูลของนักศึกษาในระบบทะเบียนออนไลน์ ซึ่งมีเบอร์โทรศัพท์ และ e-mail ของนักศึกษา update ข้อมูลได้จากแฟ้มประวัติส่วนตัวของนักศึกษาที่สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนจัดทำไว้ และสาขายังกำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้ข้อมูลส่วนตัว (เบอร์โทร และ e-mail) ของอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้นักศึกษาสามารถติดต่อได้ด้วย หลักสูตรนำระบบและกลไกสู่การปฏิบัติ: แนวทางในการควบคุมการดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา ดังนี้ 1.มีการจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา 2.อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการมีเวลาให้การดูแลนักศึกษา 3.มีการแนะนำการลงทะเบียนเรียนโดยคำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ และศักยภาพของนักศึกษา 4.การจัดเก็บข้อมูลประวัตินักศึกษาเพื่อการรู้จักนักศึกษา การแลกเปลี่ยนข้อมูลนักศึกษาในกลุ่มอาจารย์ผู้สอนเพื่อการพัฒนานักศึกษา 5.อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนหรือต้องการความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ 6.การจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา 7.มีช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา ระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สาขาวิชารัฐศาสตร์ดำเนินการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ประกอบด้วย • การกำหนดนโยบาย • การชี้แจงให้ความรู้หรือเผยแพร่ระบบและกลไก • การให้ความรู้ความเข้าใจในวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • การจัดทำ มคอ 3 ที่เน้นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • การรายงานผลการดำเนินงานตามแบบ มคอ 5 • การพัฒนาปรับปรุง มคอ 3 จากผลการดำเนินงาน มคอ 5 สำหรับการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป การจัดการเรียนการสอนในระบบนี้ให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้จากการทำงาน จากประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ตลอดจนขยายโอกาสให้ได้เรียนรู้จากอาจารย์พิเศษ วิทยากร ผู้มีความรู้ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อาทิในรายวิชา 2554806 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง อาจารย์ผู้สอนคือ อาจารย์สุรศักดิ์ จันทา ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยไปศึกษาดูงาน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI)กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้และการรับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งเป็นการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น การประเมินกระบวนการและการปรับปรุง: ในการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรครั้งที่ 5/2563 ประธานหลักสูตรได้นำเสนอผลการดำเนินงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในปีการศึกษา 2563 พบว่า - สรุปผลการให้คำปรึกษาของอาจารย์ต่อนักศึกษาปีการศึกษา 2563 ทำให้ทราบว่าประเด็นปัญหาที่นักศึกษามาปรึกษาอาจารย์มากที่สุด ได้แก่ เรื่องค่าใช้จ่ายระหว่างการเรียน รองลงมาเป็นเรื่องผลการเรียนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม และสุดท้ายเป็นกิจกรรมนักศึกษาของส่วนกลางที่มากเกินไป นอกจากนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหาส่วนตัวของนักศึกษา เช่น ครอบครัวพ่อแม่หย่าร้าง เป็นต้น ผลของการปรับปรุงกระบวนการ: ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบกระบวนการเพิ่มเติมจากเดิม - โดยทำความร่วมมือกับวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง และสถาบันเครือข่าย ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการทั้งในฐานะผู้จัด ผู้ช่วยวิทยากร ผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้เข้าร่วมการประกวดแข่งขัน ในกิจกรรมวิชาการที่หลากหลาย อาทิ จัดโครงการบริการวิชาการให้ความรู้กับเยาวชนในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ อย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา การบรรยายแลกเปลี่ยนทางวิชาการในรายวิชาต่างๆ เข้าร่วมสัมมนาวิชาการระดับชาติ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเข้าร่วมโครงการสิงห์อีสาน โครงการมหกรรมสัปดาห์วิชาการและงานวันเด็กแห่งชาติ และกิจกรรมชมรมต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ได้นำเสนอผลงานทางวิชาการ งานสร้างสรรค์ และงานบริการรูปแบบต่างๆ - มีการจัดทำระบบป้องกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรสามารถเรียนจนสำเร็จการศึกษาตลอดระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด 2.การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21: การจัดการเรียนการสอนในระบบนี้ให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้จากการทำงาน จากประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ตลอดจนขยายโอกาสให้ได้เรียนรู้จากอาจารย์พิเศษ วิทยากร ผู้มีความรู้ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อาทิในรายวิชา 2554806 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง อาจารย์ผู้สอนคือ อาจารย์สุรศักดิ์ จันทา ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยไปศึกษาดูงาน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้และการรับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งเป็นการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น ระบบส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการ หลักสูตร ได้ประยุกต์ใช้ระบบและกลไกส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการเริ่มจาก • การกำหนดนโยบาย • การประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลการประชุมสัมมนาทางวิชาการ • การจัดสรรงบประมาณ • การคัดเลือกโครงการและบุคคลเข้าร่วมโครงการ • การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าร่วมโครงการ • การเดินทางเข้าร่วมโครงการ • การประเมินและสรุปผลกระทบที่เป็นประโยชน์ และ • การเผยแพร่ผลที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดทำแผนการร่วมกิจกรรมหลักของหลักสูตร ได้แก่ โครงการบริการวิชาการ โครงการส่งเสริมจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและมีคุณธรรมจริยธรรม นอกจากนี้ประยุกต์ใช้ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ให้นักศึกษาในหลักสูตรสังกัดชมรมที่มีส่วนในการพัฒนาทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ เช่น ชมรมรัฐศาสตร์ และระบบดำเนินกิจกรรมของสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ที่สอดคล้องกับระบบกิจกรรมของงานพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย กำหนดรูปแบบกิจกรรมเป็นกิจกรรมบังคับที่ทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรมเลือก และกิจกรรมสร้างสรรค์ การประชาสัมพันธ์ การบันทึกการเข้าร่วม โอกาสที่จะได้รับ และการตัดสิทธิ์บางประการหากไม่เข้าร่วมกิจกรรม การประเมินกระบวนการและการปรับปรุง: ในการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรครั้งที่ 5/2563 ประธานหลักสูตรได้นำเสนอผลการดำเนินงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในปีการศึกษา 2563 พบว่า - มีระบบในการปฏิบัติงานและการมอบหมายงานที่ชัดเจนอยู่แล้ว แต่ควรมีการเพิ่มเติมการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มมากขึ้น มติที่ประชุมเห็นชอบให้สอดแทรกเนื้อหา และกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอนประเด็นดังกล่าวในรายวิชาที่มีความสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะให้กับนักศึกษาควรเน้นที่เรื่อง การพัฒนาทักษะทางด้านภาษา การเรียนรู้การสืบค้นสารสนเทศ ที่เป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน ผลจากการปรับปรุง: หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีการนำผลมาปรับปรุงที่เห็นเป็นรูปธรรม ดังนี้ จากการดำเนินงานปรับปรุงพัฒนากิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา พบว่า มีข้อสรุปแนวทางการปรับปรุงกระบวนการด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องการเน้นให้มีการนำหลักทฤษฎีทางวิชาการที่ได้จากเนื้อหาในรายวิชาเพื่อนำไปปฏิบัติงานจริง ใช้จริงในการทำงานเพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านอาชีพในตำแหน่งงานด้านการเมืองการปกครอง จากการประชุมของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องการเน้นให้มีการนำหลักทฤษฎีทางวิชาการที่ได้จากเนื้อหาในรายวิชาเพื่อนำไปปฏิบัติงานจริง ใช้จริงในการทำงานเพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านอาชีพในตำแหน่งงานด้านการเมืองการปกครอง จึงได้นำข้อเสนอแนะนี้มาใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงกระบวนดำเนินงานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานด้านการพัฒนาและส่งเสริมนักศึกษา พบว่าผลการดำเนินงานตามแผนงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21มีผลการดำเนินงานที่บรรลุตรงตามตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงานที่กำหนดไว้ หลักสูตรได้ดำเนินการจัดทำแผนงานโครงการ เช่น - ในการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งได้ให้นักศึกษาเข้าร่วมอบรมภาษาอังกฤษ /ทักษะคอมพิวเตอร์/ระเบียบงานสารบรรณ
หลักฐานอ้างอิง -คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์คุมสอบนักศึกษาเข้าศึกษาปีการศึกษา2563 -คำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาปีการศึกษา2563 -มคอ.5 รายวิชา 2554806 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง -สรุปโครงการบริการวิชาการสาขาวิชารัฐศาสตร์ปีการศึกษา 2563
หลักสูตรมีระบบและกลไกในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาผ่านช่องทางระบบอาจารย์ที่ปรึกษาและงานด้านการดำเนินโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1.ด้านการควบคุมดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาในระดับปริญญาตรี
หลักสูตรใช้ระบบอาจารย์ที่ปรึกษาของวิทยาลัยฯโดยมีระบบและกลไกสู่การปฏิบัติดังนี้
หลักสูตรมีกลไกการพัฒนาความรู้พื้นฐานหรือการเตรียมความพร้อมทางการเรียนแก่นักศึกษา เพื่อให้มีความสามารถในการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา ได้อย่างมีความสุข มีอัตราการลาออกกลางคันน้อย ในระหว่างการศึกษามีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดีมีจิตสำนึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการ ระบบการป้องกันหรือการบริหารความเสี่ยงของนักศึกษาเพื่อให้สามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด รวมทั้งการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้ได้มาตรฐานสากล โดยมีการดำเนินการที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้
1. การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา
2. การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดให้มีการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาตามระบบพัฒนานักศึกษาของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง 5 ระบบ ได้แก่ (1) ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา (2) ระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (3) ระบบส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการ (4) ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา (กิจกรรมชมรม กิจกรรมบังคับ และกิจกรรมเลือก) (5) ระบบส่งนักศึกษาเข้าร่วมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และได้มีการดำเนินการตามระบบ ดังนี้
ระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
ระบบกำหนดให้นักศึกษาทุกคนมีอาจารย์ที่ปรึกษา กำหนดบทบาทหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ อาทิการลงทะเบียน การพัฒนาศักยภาพทางการเรียน การใช้ชีวิตที่มีคุณภาพ กำหนดกิจกรรมพบอาจารย์ที่ปรึกษาทุกภาคการศึกษา ขยายช่องทางในการสื่อสารระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษา และหลักสูตรกับนักศึกษา อาทิ ทาง facebookของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง , facebook สาขาวิชารัฐศาสตร์ , Iineกลุ่มสาขารัฐศาสตร์ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ และรับเรื่องร้องทุกข์ของนักศึกษาเพื่อการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที
กำหนดบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีบทบาทและหน้าที่ ดังนี้
1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีหน้าที่พัฒนาระบบและกลไกด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาของหลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กำกับ ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เกณฑ์ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
2. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีหน้าที่ดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อให้วัตถุประสงค์ของกิจกรรมด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานด้านการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาซึ่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้มีแนวทางในการควบคุมการดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา ดังนี้
1. มีการจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา
2. อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการมีเวลาให้การดูแลนักศึกษา
3. มีการแนะนำการลงทะเบียนเรียนโดยคำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ และศักยภาพของนักศึกษา
4. การจัดเก็บข้อมูลประวัตินักศึกษาเพื่อการรู้จักนักศึกษา การแลกเปลี่ยนข้อมูลนักศึกษาในกลุ่มอาจารย์ผู้สอนเพื่อการพัฒนานักศึกษา
5. อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนหรือต้องการความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ
6. การจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา
7. มีช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
ระบบส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
หลักสูตรฯ ได้ประยุกต์ใช้ระบบส่งนักศึกษาไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ตั้งแต่
• การกำหนดคุณสมบัติของนักศึกษา (ชั้นปี และรายวิชาที่สอบผ่านก่อนไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ)
• กำหนดสถานประกอบการ
• กำหนดวิธีการสมัคร และวิธีการคัดเลือกของสถานประกอบการ
• กำหนดขอบเขตหน้าที่ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
• กำหนดการปฐมนิเทศ
• กำหนดวิธีการรายงานตัว การปฏิบัติงาน
• กำหนดค่าตอบแทนและสิ่งอำนวยความสะดวกขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
• กำหนดการวิธีและเกณฑ์การวัดผลและการประเมินผล
• กำหนดวิธีการนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
• กำหนดแนวปฏิบัติหลังจากเดินทางกลับจากสถานประกอบการ
ในปีการศึกษา 2562หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) มีนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพไปยังหน่วยงานภาครัฐ โดยผ่านกระบวนการบริหารจัดการของศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง
1.1เมื่อหลักสูตรได้รับนักศึกษาใหม่ตามแผนรับที่กำหนดไว้ หลักสูตรจะกำหนดอาจารย์ที่ปรึกษา 2 คน ต่อจำนวนนักศึกษา 1 หมู่เรียน โดยคัดเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาตามลักษณะเฉพาะของอาจารย์ เช่น อาจารย์ที่มีความแม่นยำในการจัดแผนการเรียนการโอน การยกเว้นรายวิชา เป็นต้น
1.2หน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาจะถูกกำหนดไว้ในคำสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา โดยต้องให้คำปรึกษาทั้งทางด้านวิชาการ และการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย โดยจัดตารางการเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาในตารางสอนสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
1.3สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบแผนการเรียนให้กับนักศึกษาทุกคน และจัดแผนการเรียนให้แก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลที่มีผลการเรียนต่างจากคนอื่น
1.4มหาวิทยาลัยฯ มีระบบทะเบียนออนไลน์ ที่ใช้เป็นฐานข้อมูลของนักศึกษา เช่น ประวัติการศึกษา ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ผลการเรียนในอดีตถึงปัจจุบัน นอกจากนั้นสาขายังให้นโยบายแก่อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนต้องจัดทำแฟ้มประวัติของนักศึกษาในที่ปรึกษาของตนเพิ่มเติม
1.5สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเพิ่มเติมความรู้เป็นพิเศษแก่นักศึกษาที่มีผลการเรียนต่ำ เช่น ระบบ Coaching โดยให้นักศึกษาที่เรียนดีกำกับนักศึกษาที่เรียนอ่อน ระบบพี่แนะน้อง เป็นต้น
1.6สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องพิมพ์ใบแจ้งผลการเรียนของนักศึกษารายบุคคลออกจากระบบทุกภาคการศึกษาเพื่อประกอบการวางแผนการเรียนให้กับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (เกรดเฉลี่ยต่ำ) และจัดแผนการเรียนตลอดหลักสูตรให้แก่นักศึกษากลุ่มดังกล่าว
1.7อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถติดต่อนักศึกษาได้โดยดูข้อมูลของนักศึกษาในระบบทะเบียนออนไลน์ ซึ่งมีเบอร์โทรศัพท์ และ e-mail ของนักศึกษา update ข้อมูลได้จากแฟ้มประวัติส่วนตัวของนักศึกษาที่สาขากำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคนจัดทำไว้ และสาขายังกำหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้ข้อมูลส่วนตัว (เบอร์โทร และ e-mail) ของอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้นักศึกษาสามารถติดต่อได้ด้วย
หลักสูตรนำระบบและกลไกสู่การปฏิบัติ:
แนวทางในการควบคุมการดูแลให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษา ดังนี้
1.มีการจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษา
2.อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการมีเวลาให้การดูแลนักศึกษา
3.มีการแนะนำการลงทะเบียนเรียนโดยคำนึงถึงความต้องการ ความสนใจ และศักยภาพของนักศึกษา
4.การจัดเก็บข้อมูลประวัตินักศึกษาเพื่อการรู้จักนักศึกษา การแลกเปลี่ยนข้อมูลนักศึกษาในกลุ่มอาจารย์ผู้สอนเพื่อการพัฒนานักศึกษา
5.อาจารย์ที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนหรือต้องการความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ
6.การจัดการความเสี่ยงด้านนักศึกษา
7.มีช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา
ระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สาขาวิชารัฐศาสตร์ดำเนินการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ประกอบด้วย
• การกำหนดนโยบาย
• การชี้แจงให้ความรู้หรือเผยแพร่ระบบและกลไก
• การให้ความรู้ความเข้าใจในวิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
• การจัดทำ มคอ 3 ที่เน้นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
• การรายงานผลการดำเนินงานตามแบบ มคอ 5
• การพัฒนาปรับปรุง มคอ 3 จากผลการดำเนินงาน มคอ 5 สำหรับการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป
การจัดการเรียนการสอนในระบบนี้ให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้จากการทำงาน จากประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ตลอดจนขยายโอกาสให้ได้เรียนรู้จากอาจารย์พิเศษ วิทยากร ผู้มีความรู้ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อาทิในรายวิชา 2554806 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง อาจารย์ผู้สอนคือ อาจารย์สุรศักดิ์ จันทา ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยไปศึกษาดูงาน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI)กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้และการรับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งเป็นการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น
การประเมินกระบวนการและการปรับปรุง:
ในการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรครั้งที่ 5/2563 ประธานหลักสูตรได้นำเสนอผลการดำเนินงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในปีการศึกษา 2563 พบว่า
- สรุปผลการให้คำปรึกษาของอาจารย์ต่อนักศึกษาปีการศึกษา 2563 ทำให้ทราบว่าประเด็นปัญหาที่นักศึกษามาปรึกษาอาจารย์มากที่สุด ได้แก่ เรื่องค่าใช้จ่ายระหว่างการเรียน รองลงมาเป็นเรื่องผลการเรียนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม และสุดท้ายเป็นกิจกรรมนักศึกษาของส่วนกลางที่มากเกินไป นอกจากนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหาส่วนตัวของนักศึกษา เช่น ครอบครัวพ่อแม่หย่าร้าง เป็นต้น
ผลของการปรับปรุงกระบวนการ:
ในปีการศึกษา 2563 หลักสูตรได้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบกระบวนการเพิ่มเติมจากเดิม
- โดยทำความร่วมมือกับวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง และสถาบันเครือข่าย ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการทั้งในฐานะผู้จัด ผู้ช่วยวิทยากร ผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้เข้าร่วมการประกวดแข่งขัน ในกิจกรรมวิชาการที่หลากหลาย อาทิ จัดโครงการบริการวิชาการให้ความรู้กับเยาวชนในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ อย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา การบรรยายแลกเปลี่ยนทางวิชาการในรายวิชาต่างๆ เข้าร่วมสัมมนาวิชาการระดับชาติ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเข้าร่วมโครงการสิงห์อีสาน โครงการมหกรรมสัปดาห์วิชาการและงานวันเด็กแห่งชาติ และกิจกรรมชมรมต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ได้นำเสนอผลงานทางวิชาการ งานสร้างสรรค์ และงานบริการรูปแบบต่างๆ
- มีการจัดทำระบบป้องกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงของนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาที่เรียนในหลักสูตรสามารถเรียนจนสำเร็จการศึกษาตลอดระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด
2.การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21:
การจัดการเรียนการสอนในระบบนี้ให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้จากการทำงาน จากประสบการณ์ ณ สถานที่จริง ตลอดจนขยายโอกาสให้ได้เรียนรู้จากอาจารย์พิเศษ วิทยากร ผู้มีความรู้ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังจัดให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้นอกห้องเรียน อาทิในรายวิชา 2554806 รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง อาจารย์ผู้สอนคือ อาจารย์สุรศักดิ์ จันทา ได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยไปศึกษาดูงาน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้และการรับประสบการณ์ตรงจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งเป็นการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น
ระบบส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการ
หลักสูตร ได้ประยุกต์ใช้ระบบและกลไกส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมและเสนอผลงานทางวิชาการเริ่มจาก
• การกำหนดนโยบาย
• การประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลการประชุมสัมมนาทางวิชาการ
• การจัดสรรงบประมาณ
• การคัดเลือกโครงการและบุคคลเข้าร่วมโครงการ
• การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าร่วมโครงการ
• การเดินทางเข้าร่วมโครงการ
• การประเมินและสรุปผลกระทบที่เป็นประโยชน์ และ
• การเผยแพร่ผลที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ
ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้จัดทำแผนการร่วมกิจกรรมหลักของหลักสูตร ได้แก่ โครงการบริการวิชาการ โครงการส่งเสริมจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและมีคุณธรรมจริยธรรม นอกจากนี้ประยุกต์ใช้ระบบการเข้าร่วมกิจกรรมของวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ให้นักศึกษาในหลักสูตรสังกัดชมรมที่มีส่วนในการพัฒนาทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ เช่น ชมรมรัฐศาสตร์ และระบบดำเนินกิจกรรมของสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ที่สอดคล้องกับระบบกิจกรรมของงานพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย กำหนดรูปแบบกิจกรรมเป็นกิจกรรมบังคับที่ทุกคนต้องเข้าร่วม กิจกรรมเลือก และกิจกรรมสร้างสรรค์ การประชาสัมพันธ์ การบันทึกการเข้าร่วม โอกาสที่จะได้รับ และการตัดสิทธิ์บางประการหากไม่เข้าร่วมกิจกรรม
การประเมินกระบวนการและการปรับปรุง:
ในการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรครั้งที่ 5/2563 ประธานหลักสูตรได้นำเสนอผลการดำเนินงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ในปีการศึกษา 2563 พบว่า
- มีระบบในการปฏิบัติงานและการมอบหมายงานที่ชัดเจนอยู่แล้ว แต่ควรมีการเพิ่มเติมการเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มมากขึ้น มติที่ประชุมเห็นชอบให้สอดแทรกเนื้อหา และกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอนประเด็นดังกล่าวในรายวิชาที่มีความสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 รวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะให้กับนักศึกษาควรเน้นที่เรื่อง การพัฒนาทักษะทางด้านภาษา การเรียนรู้การสืบค้นสารสนเทศ ที่เป็นประโยชน์ในการเรียนการสอน
ผลจากการปรับปรุง:
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีการนำผลมาปรับปรุงที่เห็นเป็นรูปธรรม ดังนี้
จากการดำเนินงานปรับปรุงพัฒนากิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
พบว่า มีข้อสรุปแนวทางการปรับปรุงกระบวนการด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องการเน้นให้มีการนำหลักทฤษฎีทางวิชาการที่ได้จากเนื้อหาในรายวิชาเพื่อนำไปปฏิบัติงานจริง ใช้จริงในการทำงานเพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านอาชีพในตำแหน่งงานด้านการเมืองการปกครอง จากการประชุมของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรต้องการเน้นให้มีการนำหลักทฤษฎีทางวิชาการที่ได้จากเนื้อหาในรายวิชาเพื่อนำไปปฏิบัติงานจริง ใช้จริงในการทำงานเพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านอาชีพในตำแหน่งงานด้านการเมืองการปกครอง จึงได้นำข้อเสนอแนะนี้มาใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงกระบวนดำเนินงานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานด้านการพัฒนาและส่งเสริมนักศึกษา พบว่าผลการดำเนินงานตามแผนงานการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21มีผลการดำเนินงานที่บรรลุตรงตามตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนงานที่กำหนดไว้
หลักสูตรได้ดำเนินการจัดทำแผนงานโครงการ เช่น
- ในการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งได้ให้นักศึกษาเข้าร่วมอบรมภาษาอังกฤษ /ทักษะคอมพิวเตอร์/ระเบียบงานสารบรรณ
ทำได้ (ข้อ) | ได้คะแนน | |
---|---|---|
4 | 4 |