ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ปีที่ประเมิน 2565
ผู้ดูแลตัวบ่งชี้ : วิภาวดี ทวี , ปิยชนก จันทร์ชัยภักดิ์ , รุ่งทิวา เนื้อนา , ธัญทิพ บุญเยี่ยม , จุฑาสินี ชนะศึก , ปัญญณัฐ ศักดิ์สิทธานุภาพ
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินการของทุกหลักสูตรในคณะ ซึ่งสามารถสะท้อนคุณภาพของบัณฑิตในหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ

เกณฑ์การประเมิน

ค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพของทุกหลักสูตรที่คณะรับผิดชอบ

สูตรการคํานวณ

 

คะแนนที่ได้ = ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
หมายเหตุ

หลักสูตรที่ได้รับการรับรองโดยระบบอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาเห็นชอบไม่ต้องนำคะแนนการประเมินของหลักสูตรนั้นมาคำนวณในตัวบ่งชี้นี้ แต่ต้องรายงานผลการรับรองตามระบบนั้นๆ ในตัวบ่งชี้นี้ให้ครบถ้วน

ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน

            ตามที่ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2565  จากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร  ระหว่างวันที่ 12-16 มิถุนายน 2566  โดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี จำนวนทั้งสิ้น 9 หลักสูตร และมีหลักสูตรที่รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จำนวน 9 หลักสูตร

          จากผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร พบว่า “ผ่าน” องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน  และคะแนนเฉลี่ยภาพรวมขององค์ประกอบที่ 2-6 คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.81 คะแนน ระดับคุณภาพการดำเนินงาน “ระดับดี”  จำแนกคะแนนตามระดับคุณภาพของหลักสูตร คือ ระดับคุณภาพดี จำนวนทั้งสิ้น 9 หลักสูตร  โดยแสดงผลการประเมินในตารางดังนี้

หลักสูตร

ผลการประเมินโดยคณะกรรมการ

ผลการประเมิ

องค์ประกอบที่ 1

ผลรวมของค่าคะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2-6

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาจีน

ผ่าน

3.71

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

ผ่าน

3.95

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ

ผ่าน

3.66

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน

ผ่าน

3.88

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรนศ.บ. สาขาวิชานิเทศศาสตรบัณฑิต

ผ่าน

3.80

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาการจัดการสารสนเทศดิจิทัล

ผ่าน

3.74

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ

ผ่าน

3.98

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาประวัติศาสตร์

ผ่าน

3.89

หลักสูตรได้มาตรฐาน

หลักสูตรศศ.บ. สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ผ่าน

3.65

หลักสูตรได้มาตรฐาน

ผลรวมของค่าคะแนนประเมินทุกหลักสูตร

34.26

จำนวนหลักสูตรทั้งหมด

9 หลักสูตร

คะแนนเฉลี่ยรวมระดับคณะ

3.81 คะแนน

 

ผลการดำเนินงาน ปีกาศึกษา 2564 เท่ากับ 3.79 คะแนน

และมีผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2565 เท่ากับ 3.81 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว คะแนนเพิ่มขึ้นที่ 0.02

 

 

สูตรการคำนวณ

 

 คะแนนที่ได้     =  

 

ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร

จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ

 

 

 

     คะแนนที่ได้     =

34.26

3.81 คะแนน

9

 

ผลคะแนนการประเมินตนเอง
ทำได้ (ข้อ) ได้คะแนน
3.81 3.81